ขอให้ชาวนครพนม คัดค้านการนำเอาพระธาตุพนม ไปประดับบนยอดหลังคาอาคารด่านศุลกากรนครพนม ที่สะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 3 จังหวัดนครพนม

วันพุธที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2553

องค์การบริหารส่วนตำบลนาราชควาย








ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาราชควาย ตำบลนาราชควาย อำเภอเมืองนครพนม







ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาราชควาย  ต.นาราชควาย อ.เมืองนครพนม
















แฟ้มภาพเก่า เมื่อปี 2552



ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลนาราชควาย ตำบลนาราชควาย อำเภอเมืองนครพนม


สถานีอนามัยนาราชควาย


โรงเรียนบ้านนาราชควาย








โรงงานผลิตเตาอังโล่  ที่บ้านนาราชใต้




องค์การบริหารส่วนตำบลอาจสามารถ



องค์การบริหารส่วนตำบลอาจสามารถ ตั้งอยู่ที่บ้านสำราญ ตำบลอาจสามารถ
บนถนนหมายเลข 212 นครพนม - ท่าอุเทน กม.ที่ 6 จากเขตเทศบาลเมือง









อบต.อาจสามารถ ประกอบด้วย 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านห้อม หมู่ 2 บ้านสำราญเหนือ
หมู่ 3 บ้านสำราญใต้  หมู่ 4 บ้านไผ่ล้อม  หมู่ 5 บ้านอาจสามารถ  หมู่ 6 บ้านอาจสามารถ  
หมู่ 7 บ้านนาหัวบ่อ  หมู่ 8 บ้านคำเกิ้ม  หมู่ 9 บ้านนาสมดี  หมู่ 10 บ้านไผ่ล้อม และ
หมู่ 11 บ้านห้อม




ประวัติความเป็นมา :
ตำบลอาจสามารถ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าแต่งตั้งชาวไทยแสกให้เป็นเจ้าเมือง ที่ชื่อว่าอาทมาต มีหลวงเอกอาษา เป็นเจ้าเมือง เมื่อปี พ.ศ.2387 (หลักฐานจากจดหมายเหตุ รัชกาลที่ 3 จ.ศ.1191 เลขที่ 3 หอสมุดแห่งชาติ) จนกระทั่งปี พ.ศ.2450 เปลี่ยนชื่อเป็นอาษามารถ ต่อมามีการปฏิรูปการปกครองเป็นส่วนภูมิภาคให้เหมือนกันหมดทั่วราชอาณาจักร เมืองอาษามารถถูกยุบเป็นตำบลอาจสามารถ ปัจจุบันเป็นตำบลที่ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอเมือง ประกอบด้วย 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านห้อม หมู่ 2 บ้านสำราญเหนือ หมู่ 3 บ้านสำราญใต้ หมู่ 4 บ้านไผ่ล้อม หมู่ 5 บ้านอาจสามารถ หมู่ 6 บ้านอาจสามารถ หมู่ 7 บ้านนาหัวบ่อ หมู่ 8 บ้านคำเกิ้ม หมู่ 9 บ้านนาสมดี หมู่ 10 บ้านไผ่ล้อม หมู่ 11 บ้านห้อม





ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลอาจสามารถ ตำบลอาจสามารถ อำเภอเมืองนครพนม


คลิป ชมสำนักงาน อบต.อาจสามารถ


ตึกสำนักงานปลัด , การคลัง และฝ่ายโยธา



ศูนย์ อปพร. อาจสามารถ




สถานีอนามัยอาจสามารถ